|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #422 เมื่อ: 25 มิถุนายน 2012, 13:22:18 » |
|
วันนี้ วันสุนทรภู่ ฟังเพลง คำมั่นสัญา อ. cane มาวางให้ฟังนะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 มิถุนายน 2012, 11:43:14 โดย teerakja »
|
|
|
|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #425 เมื่อ: 25 มิถุนายน 2012, 19:23:47 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 25 มิถุนายน 2012, 19:26:29 โดย teerakja »
|
|
|
|
lotus4112
Hero Member C6
พลังน้ำใจ: 2268
ออฟไลน์
กระทู้: 1,116
|
 |
« ตอบ #427 เมื่อ: 25 มิถุนายน 2012, 20:32:28 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
lotus4112
Hero Member C6
พลังน้ำใจ: 2268
ออฟไลน์
กระทู้: 1,116
|
 |
« ตอบ #428 เมื่อ: 25 มิถุนายน 2012, 20:41:37 » |
|
[:;กดให้ทุกครั้งนะคะ ขอบคุณค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
SUPHOCH
|
 |
« ตอบ #431 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 06:09:34 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #434 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 07:43:04 » |
|
ครูหวังเต๊ะ ถึงแก่กรรม ประวัติ
หวังเต๊ะ มีชื่อจริงว่า หวังดี นิมา เกิดที่จังหวัดปทุมธานี เป็นชาวมุสลิม เป็นศิลปินเพลงพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญเพลงลำตัดเป็นพิเศษ เกิดเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2468 ได้ตั้งคณะลำตัดชื่อ “คณะหวังเต๊ะ” รับงานแสดงมานานกว่า 40 ปี จนชื่อ หวังเต๊ะ กลายเป็นสัญลักษณ์ของลำตัด เป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์และสืบทอดการแสดงพื้นบ้านได้อย่างน่าภาคภูมิใจยิ่ง ท่านมีความสามารถมีปฏิภาณไหวพริบ มีคารมคมคาย สามารถด้นกลอนสดและแต่งคำร้องได้อย่างยอดเยี่ยมโดยจะเน้นในด้านสุนทรียภาพ ความไพเราะงดงามทางภาษา ท่านใช้ความสามารถและศิลปะการแสดงประกอบสัมมาชีพอย่างซื่อสัตย์มาโดยตลอด ท่านมีความมุ่งมั่นที่จะอนุรักษ์ ถ่ายทอด เผยแพร่ศิลปะการแสดงลำตัดแก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อเป็นการสืบสานมรดกไทยไว้เป็นเอกลักษณ์ของชาติสืบไป หวังเต๊ะได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน) ประจำปี 2531
ในบั้นปลายชีวิต ได้ป่วยเป็นโรคมะเร็งตับ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 ได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จนกระทั่งถึงเช้าวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ก็ถึงแก่กรรม สิริอายุได้ 88 ปี
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sittidon
Freshy1
พลังน้ำใจ: 99
ออฟไลน์
กระทู้: 37
|
 |
« ตอบ #435 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 07:59:32 » |
|
สวัสดีครับ อาจารย์สุพจน์และเพื่อนๆสมาชิกทุกท่าน วันแหง่ความหวังรออยู่ข้างหน้า ขอให้มีชัยชนะและโชคดีรวยๆกันทุกคนรวมทั้งตัวผมด้วยครับ + 1ให้ อ.สุพจน์สำหรับข้อมูลเด็ด ดูแลสุขภาพด้วยนะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #436 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 08:55:03 » |
|
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หรือ วันอุโบสถ หมายถึง วันประชุมของพุทธศาสนิกชนเพื่อปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในพระพุทธศาสนาประจำสัปดาห์ หรือที่เรียกกันทั่วไปอีกคำหนึ่งว่า "วันธรรมสวนะ" อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) โดยวันพระเป็นวันที่มีกำหนดตามปฏิทินจันทรคติ โดยมีเดือนละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ, วันขึ้น 15 ค่ำ (วันเพ็ญ), วันแรม 8 ค่ำ และวันแรม 15 ค่ำ (หากเดือนใดเป็นเดือนขาด ถือเอาวันแรม 14 ค่ำ) วันพระนั้นเดิมเป็นธรรมเนียมของปริพาชกอัญญเดียรถีย์ (นักบวชนอกพระพุทธศาสนา) ที่จะประชุมกันแสดงธรรมทุก ๆ วัน 8 ค่ำ 15 ค่ำ ซึ่งในสมัยต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้ายังคงไม่ได้ทรงวางระเบียบในเรื่องนี้ไว้ ต่อมาพระเจ้าพิมพิสารได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลพระราชดำริของพระองค์ว่านักบวชศาสนาอื่นมีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าพุทธศาสนายังไม่มี พระพุทธองค์จึงทรงอนุญาตให้มีการประชุมพระสงฆ์ในวัน 8 ค่ำ 15 ค่ำ และอนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวันดังกล่าว โดยตามพระไตรปิฎกเรียกวันพระว่า วันอุโบสถ (วัน 8 ค่ำ) หรือวันลงอุโบสถ (วัน 14 หรือ 15 ค่ำ) แล้วแต่กรณี หลังจากนั้น พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันธรรมสวนะสืบมา โดยจะเป็นวันสำคัญที่พุทธศาสนิกชนจะไปประชุมกันฟังพระธรรมเทศนาจากพระสงฆ์ที่วัด ในประเทศไทยปรากฏหลักฐานว่าได้มีประเพณีวันพระมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย วันพระในปัจจุบัน คงเหลือธรรมเนียมปฏิบัติอยู่แต่เฉพาะประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาท เช่น ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว และเขมร (ในอดีตประเทศเหล่านี้ถือวันพระเป็นวันหยุดราชการ) โดยพุทธศาสนิกชนเถรวาทนับถือว่าวันนี้เป็นวันสำคัญที่จะถือโอกาสไปวัดเพื่อทำบุญถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์และฟังพระธรรมเทศนา สำหรับผู้ที่เคร่งครัดในพระพุทธศาสนาอาจถือศีลแปดหรือศีลอุโบสถในวันพระด้วย นอกจากนี้ชาวพุทธยังถือว่าวันพระไม่ควรทำบาปใด ๆ โดยเชื่อกันว่าการทำบาปหรือไม่ถือศีลห้าในวันพระถือว่าเป็นบาปมากกว่าในวันอื่น ในประเทศไทย หลังจากวันพระได้ถูกยกเลิกไม่ให้เป็นวันหยุดราชการ ทำให้วันพระที่กำหนดวันตามปฏิทินจันทรคติส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับปฏิทินที่ใช้กันอยู่ทั่วไป (เช่น วันพระไปตรงกับวันทำงานปกติ) ซึ่งคือหนึ่งในสาเหตุสำคัญในปัจจุบันที่ทำให้พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยห่างจากการเข้าวัดเพื่อทำบุญในวันพระ นอกจากนี้ ในประเทศไทยยังมีคำเรียกวันก่อนวันพระหนึ่งวันว่า วันโกน เพราะปกติในวันขึ้น 14 ค่ำปกติ ก่อนวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์ในประเทศไทยที่จะโกนผมในวันนี้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 มิถุนายน 2012, 09:07:18 โดย teerakja »
|
|
|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #438 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 09:01:06 » |
|
ประวัติความเป็นมาของวันธรรมสวนะ(วันพระ) ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสารได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลว่า "นักบวชศาสนาอื่นเขามีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าในศาสนาพุทธยังไม่มี" พระพุทธองค์จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงพระธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวัน ๘ ค่ำ ๑๔ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันธรรมสวนะเพื่อกำหนดให้มีการประชุมพร้อมเพรียงกันฟังธรรม
ในสมัยพุทธกาลนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประชุมพระสงฆ์สาวกเพื่อทรงสั่งสอนธรรม การประชุมสงฆ์ซึ่งเป็นสาวกของพระพุทธองค์นั้นก็ได้นัดหมายไปประชุมกัน และจะมีพระสงฆ์รูปหนึ่งเป็นผู้สวดพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุทุกรูปก็จะนั่งฟังด้วยอาการอันสำรวม และตั้งใจจนกระทั่งจบ
คำว่า "สวนะ" แปลว่า การฟัง และคำว่า "ธรรมสวนะ" แปลว่า การฟังธรรม นั่นคือวันธรรมสวนะก็แปลว่า กำหนดประชุมฟังธรรม หรือพูดตามภาษาชาวบ้านทั่วไปว่า วันไปฟังเทศน์หรือวันพระ ในทางศาสนาก็ยังได้เรียกว่า วันอุโบสถ ซึ่งแปลว่า วันจำศีลของอุบาสกอุบาสิกาผู้ต้องการบุญกุศลเป็นกรณีพิเศษ
พิธีของชาวบ้าน โดยพุทธศาสนิกชนก็จะไปร่วมทำบุญตักบาตร ถวายอาหารหวานคาวแด่พระสงฆ์ สมาทานศีล(รับศีล) และฟังพระธรรมเทศนาที่วัด
ในวันธรรมสวนะนี้ ชาวบ้านก็จะละเว้นการประพฤติกิจที่เป็นบาปต่างๆ การสมาทานศีลในวันนี้ เช่น รับศีล ๕ หรือ ศีล ๘ ซึ่งเรียกว่า อุโบสถศีล พระสงฆ์จะได้แสดงพระธรรมเทศนา หรือ ธรรมสากัจฉา หรือ สนทนาธรรมกัน ซึ่งนับว่าเกิดเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังเป็นอย่างยิ่ง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 มิถุนายน 2012, 09:03:06 โดย teerakja »
|
|
|
SUPHOCH
|
 |
« ตอบ #439 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 09:10:47 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
@♦อุ๋ยโหย๋♦@
ผู้อำนวยการบอร์ด
Diamond Hero C9
พลังน้ำใจ: 45240
ออฟไลน์
กระทู้: 171,573
|
 |
« ตอบ #440 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 09:38:26 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
teerakja
สมาชิกระดับอาจารย์ C6
Super Hero C7

พลังน้ำใจ: 5698
ออฟไลน์
กระทู้: 5,936
|
 |
« ตอบ #441 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 09:46:48 » |
|
วันสุนทรภู่ 26 มิ.ย. พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นกวีชาวไทยที่มีชื่อเสียง ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไท�
r[" r[" r["
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 มิถุนายน 2012, 09:48:44 โดย teerakja »
|
|
|
|
|
|
|
|
apple
Super Hero C7
พลังน้ำใจ: 5653
ออฟไลน์
กระทู้: 2,618
|
 |
« ตอบ #447 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 12:34:24 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อย่ากังวลกับสิ่งที่ยังมาไม่ถึง ขอให้คำนึงถึงสิ่งที่กำลังทำ
|
|
|
|
SUPHOCH
|
 |
« ตอบ #449 เมื่อ: 26 มิถุนายน 2012, 13:53:54 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|